วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557


บทที่3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเป็นการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งโดยอาศัยสื่อหรือเครื่องมือต่างๆเป็นช่องทางในการสื่อสาร เช่น การสื่อสารด้วยท่าทาง ถ้อยคำ สัญลักษณ์ ภาพวาด จดหมาย โทรเลข เป็นต้น 
อ่านต่อ



การสื่อสารข้อมูล
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 
1) การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (ring topology)เป็นการเชื่อมต่อสายสัญญาณจากสถานีเชื่อมโยง (node)หนึ่งไปยังอีกสถานีเชื่อมโยงหนึ่ง โดยเครื่องหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์แต่ละตัวจะเชื่อมต่อกันทางด้านข้างทั้ง 2 ด้าน จนเกิดเป็นวงกลมหรือลูป (loop) อ่านต่อ  



อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการรับข้อมูล ส่งข้อมูล ทวนสัญญาณ รวมทั้งขยายเครือข่าย ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่สำคัญต่างๆดังต่อไปนี้
 อ่านต่อ           




เครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบสื่อสารข้อมูลที่ใช้เชื่อมอุปกรณ์ปลายทางหลายตัวเข้าด้วยกัน เราเรียกว่า เครือข่ายการสื่อสารข้อมูล โดยทั่วไประบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้น สามารถแบ่งออกตามขนาดพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่เครือข่ายนั้นตั้งอยู่และลักษณะการใช้งานออกได้เป็น 6 ประเภท ดังนี้ อ่านต่อ   

ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีประโยชน์มากมายต่อระบบการทำงานในหลายองค์กร ซึ่งสามารถสรุปประโยชน์เป็นด้านๆ ได้ดังนี้
1)ด้านการใช้งาน ระบบเครือข่ายสามารถให้ผู้ใช้หลายคนใช้โปรแกรมและข้อมูลต่างๆ ได้ในเวลาเดียวกัน ถ้ามีการแลกเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งข้อมูลที่เครื่องอื่นๆ จะถูกเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย  อ่านต่อ 

บทที่ 2 ซอฟต์เเวร์คอมพิวเตอร์เเละการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ซอฟต์เเวร์คอมพิวเตอร์


ความหมายของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์

เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การทำงานของคนทำงานได้ด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นมีเพียงเฉพาะตัวอุปกรณ์หรือฮาร์ดแวร์อยู่เพียงอย่างเดียวก็ไม่สามารถทำงานได้เป็นได้เพียงวัตถุชิ้นหนึ่งเท่านั้น การที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้นั้น จำเป็นต้องอาศัยซอฟต์แวร์ในการสั่งให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทำงานได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน สำหรับในที่นี่จะกล่าวถึงการแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์ ลักษณะย่อยของซอฟต์แวร์แต่ละประเภท







ซอฟต์เเวร์ระบบ

การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงาน เช่น การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทำกับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึง
ให้คำตอบว่า  อ่านต่อ


ซอฟต์เเวร์ประยุกต์

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้นการทำงานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น  อ่านต่อ







การจัดหาซอฟต์เเวร์เพื่อมาใช้งาน
การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน สามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้
1. แบบสำเร็จรูป (Packaged or ready-made software) เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อได้จากตัวแทนจำหน่ายซอฟแวร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว ผู้ใช้สามรถนำไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือกซื้อผ่านทางร้านตัวแทนจำหน่ายได้อ่านต่อ


บทที่1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์



1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)

ทําหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคําสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจําเพื่อเตรียมประมวลผล

อ่านต่อ

ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์

การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มคือ

อ่านต่อ



การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์

1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)

ทําหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคําสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจํา

เพื่อเตรียมประมวลผล

อ่านต่อ



ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์


ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ต้นแบบของคอมพิวเตอร์ก็คือมนุษย์ การกระทำหรือ

การแสดงออกของมนุษย์เกิดจากมีการนำข้อมูลเข้า ประมวลผลและ แสดงผล

ยังมีการเก็บสำรองข้อมูลซึ่งเป็นหลักการของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบสำคัญ


ของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย4 ส่วนคือ

1. หน่วยรับข้อมูลเข้าและคำสั่ง (Input Device)

2. หน่วยประมวลผลกลาง( Central Processing Unit : CPU )

3. หน่วยแสดงผล ( Output Unit )

4. หน่วยความจำ ( memory)


อ่านต่อ